NOT KNOWN FACTUAL STATEMENTS ABOUT ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Not known Factual Statements About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Not known Factual Statements About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

แม้ว่าสถาบันทางการศึกษาของไทยเริ่มมีการตื่นตัว และตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการเรียนการสอนในวิชาภาษาต่างประเทศแล้ว แต่ในความเป็นจริงสถานศึกษาหลายแห่งยังขาดแคลนครู หรืออาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญ และมีคุณภาพในการสอนภาษาต่างประเทศ จึงทำให้นักเรียนไม่สามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ ส่งผลให้ประเทศไทยยังคงมีความล้าช้า และเสียเปรียบในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ในทักษะภาษา รวมไปถึงการเรียนการสอนในหลักสูตรนานาชาติที่ยังคงจำกัดอยู่แค่กลุ่มนักเรียนที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวย

เกี่ยวกับเรา รู้จักทีดีอาร์ไอ เกี่ยวกับเรา

ปัญหาความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษา ส่งผลให้คุณภาพการเรียนการสอนไม่เท่ากันในแต่ละพื้นที่ สถานศึกษาบางแห่งไม่ได้พัฒนาหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน จึงทำให้องค์กรหลากหลายแห่งขาดแคลนแรงงานฝีมือคุณภาพ หรือต้องลงทุนไปกับทรัพยากรเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาพนักงานด้วยตนเอง 

ภาพจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในประเทศไทยเป็นปัญหาที่เกิดขึ้น และยังคงอยู่มาอย่างยาวนาน ซึ่งเป็นผลมาจากความเหลื่อมล้ำในด้านต่างๆ เช่น คุณภาพของโรงเรียนที่แตกต่าง การศึกษาไม่ทั่วถึงในพื้นที่ห่างไกล การขาดแคลนทุนการศึกษา ปัญหาเศรษฐกิจ และโรคระบาด เป็นต้น จึงส่งผลทำให้เยาวชนไทยจำนวนมากถูกช่วงชิงสิทธิขั้นพื้นฐานในการที่จะได้รับความรู้ และถูกผลักออกจากระบบการศึกษาในที่สุด

กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้สอดส่องและส่งต่อความช่วยเหลือ

โครงการพัฒนาระบบทดลองการพัฒนาทักษะแรงงานที่ขาดแคลนทุนทรัพย์และด้อยโอกาส

“แนวโน้มอัตราแลกเปลี่ยนของไทยปัจจุบันกลับมาแข็งค่าขึ้น ยอมรับว่าระยะสั้นค่าเงินบาทแข็งค่าเร็วกว่าคนอื่น ขณะที่ช่วงก่อนหน้า เงินบาทอ่อนค่าเร็ว เชื่อว่าธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) มีหน้าที่ดูแล ส่วนการหารือกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อปีหน้า กับ ธปท.จะได้หารือกันเร็วๆนี้ ส่วนความกังวลเรื่องไทยเผชิญกับสังคมผู้สูงอายุ ถือเป็นความท้าทาย ทั้งเรื่องของแรงงานที่เป็นผลจากการลดลงของประชากรวัยแรงงาน อาจส่งผลต่อประสิทธิภาพโดยรวมของประเทศ นอกจากนั้นในเรื่องการออมและการลงทุนอาจเปลี่ยนแปลงตามโครงสร้างประชากร ส่วนการบริโภคและบริการจะเปลี่ยนไปตามความต้องการของผู้สูงอายุ ส่วนระบบสวัสดิการภาระทางการคลังด้านสุขภาพ สวัสดิการและบำนาญจะเพิ่มขึ้น”.

เมื่อการศึกษาที่ควรจะเป็นรากฐานสำคัญเพื่อเปลี่ยนชีวิต กลับกลายเป็นจุดเริ่มต้นของความเหลื่อมล้ำและความไม่เสมอภาค จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจะต้องเข้ามาพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา ปรับระบบให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงออกนโยบายต่างๆ เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเด็กที่ยังถูกทิ้งไว้ข้างหลัง เพื่อให้การศึกษาเป็นประตูสู่โอกาสแห่งความเสมอภาคที่แท้จริง

เรียนรู้วิชาชีพจากองค์ความรู้ภายในชุมชน

ยังมีความท้าทายเรื่องการกระจายรายได้อีกที่น่าเป็นห่วง ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ธนาคารโลกรายงานว่าสถานการณ์ความยากจน

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

“ในภาพรวม กสศ.สามารถช่วยเหลือเด็กได้จำนวนหนึ่ง ขณะเดียวกันเราก็ทำงานเชิงระบบ เพื่อแก้ปัญหาตัวระบบ เช่น ระบบการจัดการ สถานศึกษาและพัฒนาครู ทั้งนี้เพื่อไปให้ถึงตัวปัญหาให้มากที่สุด”

ขณะเดียวกัน ประเพณีของชนเผ่า เช่น ม้ง ซึ่งมีประเพณีฉุดหญิงสาวไปเป็นภรรยา ทำให้นักเรียนบางคนต้องออกจากโรงเรียนกลางคัน หรือเทศกาลกินวอของหลายชนเผ่า ก็ส่งผลให้เด็กขาดเรียนติดต่อกันหลายวันจนกระทบต่อสิทธิ์เข้าสอบของตัวเด็กและกลายเป็นปัญหาของโรงเรียน

Report this page